การรักษาและเทคโนโลยี (โรคการนอนหลับ)

หน้าแรก  >  โรคและการรักษา  >   โรคการนอนหลับ  >   การรักษาโรคการนอนหลับ

การรักษา

เป็นการตรวจหาความผิดปกติของการนอนหลับในผู้ที่นอนกรน ผู้ที่มีการอุดกั้นของทางเดินหายใจ ขากระตุกขณะหลับ โรคนอนละเมอ PSG เป็นการตรวจโดยให้ผู้ป่วยนอนในห้องนอนที่เป็นส่วนตัวเป็นเวลาหนึ่งคืน โดยจะมีการบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับคลื่นไฟฟ้าสมอง การเคลื่อนไหวของลูกตา การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ การเต้นของหัวใจ ลักษณะการหายใจ รวมถึงปริมาณออกซิเจนในเลือด ระบบการขยับของกล้ามเนื้อแขนขา เพื่อใช้ในการประเมินความรุนแรงของภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ และสามารถให้การรักษาได้ในคืนเดียวกัน สำหรับความผิดปกติบางอย่าง

ดังนั้น หากคุณมีภาวะผิดปกติดังกล่าว ควรได้รับการตรวจจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเรื่องการนอนหลับ เพื่อหาสาเหตุและพิจารณาการรักษาอย่างเหมาะสม เนื่องจากการหยุดหายใจขณะหลับอาจส่งผลต่อการเสื่อมและการทำงานที่บกพร่องของสภาพร่างกายโดยรวมได้

ความประทับใจจากผู้ป่วย

Stroke Pathway : การสวนลากลิ่มเลือด Mechanical Thrombectomy โรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา

การรักษาโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันเฉียบพลันด้วยวิธี Mechanical Thrombectomy และการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินด้วยระบบ Stroke Fast Track ศูนย์สมองและระบบประสาท โรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา

หลอดเลือดสมองโป่งพองขนาดใหญ่และแตก : Stroke เคสยากและซับซ้อน คนไข้กลับมาเดินได้ภายใน 1 เดือน

คนไข้มารพ.ด้วยอาการแขนขาอ่อนแรง ปากเบี้ยว พูดไม่ได้ ซึ่งเป็นอาการของโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลัน และพอได้รับการวินิจฉัยปรากฏว่าเจอหลอดเลือดสมองโป่งพองขนาดใหญ่..รอเวลาแตก และนาทีวิกฤต..ที่ทีมแพทย์จะต้องช่วยกันผ่าตัดรักษาหลอดเลือด

แพทย์ที่เกี่ยวข้อง

นพ. กิตติภพ สมบูรณ์นิธิผล
รังสีวิทยาวินิจฉัย
กุมารเวชศาสตร์
นพ. กีรติ จรูญธรรมวงศ์
ประสาทศัลยศาสตร์
นพ. ชาญ ศุภภิญโญพงศ์
ประสาทวิทยา
นพ. ณษฐพจน์ นำผล
ประสาทศัลยศาสตร์
นพ. ณัฐกานต์ บูรณะกุล
ประสาทวิทยา
นพ. ณัฐพล อุฬารศิลป์
ประสาทวิทยา
นพ. นิยม พิสิฐพิพัฒนา
ประสาทวิทยา
นพ. ปิยะณัฐ วงศ์วรรณ
ประสาทวิทยา
นพ. พิมาน สีทอง
ประสาทวิทยา
นพ. ภาคภูมิ บำรุงราชภักดี
ประสาทศัลยศาสตร์

แพ็กเกจและโปรโมชั่น