การรักษาและเทคโนโลยี (โรคการนอนหลับ)

การรักษา

เป็นการตรวจหาความผิดปกติของการนอนหลับในผู้ที่นอนกรน ผู้ที่มีการอุดกั้นของทางเดินหายใจ ขากระตุกขณะหลับ โรคนอนละเมอ PSG เป็นการตรวจโดยให้ผู้ป่วยนอนในห้องนอนที่เป็นส่วนตัวเป็นเวลาหนึ่งคืน โดยจะมีการบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับคลื่นไฟฟ้าสมอง การเคลื่อนไหวของลูกตา การเคลื่อนไหวของกล้ามเนื้อ การเต้นของหัวใจ ลักษณะการหายใจ รวมถึงปริมาณออกซิเจนในเลือด ระบบการขยับของกล้ามเนื้อแขนขา เพื่อใช้ในการประเมินความรุนแรงของภาวะหยุดหายใจขณะนอนหลับ และสามารถให้การรักษาได้ในคืนเดียวกัน สำหรับความผิดปกติบางอย่าง

ดังนั้น หากคุณมีภาวะผิดปกติดังกล่าว ควรได้รับการตรวจจากแพทย์ผู้เชี่ยวชาญเรื่องการนอนหลับ เพื่อหาสาเหตุและพิจารณาการรักษาอย่างเหมาะสม เนื่องจากการหยุดหายใจขณะหลับอาจส่งผลต่อการเสื่อมและการทำงานที่บกพร่องของสภาพร่างกายโดยรวมได้

ความประทับใจจากผู้ป่วย

Stroke Pathway : การสวนลากลิ่มเลือด Mechanical Thrombectomy โรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา

การรักษาโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันเฉียบพลันด้วยวิธี Mechanical Thrombectomy และการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินด้วยระบบ Stroke Fast Track ศูนย์สมองและระบบประสาท โรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา

หลอดเลือดสมองโป่งพองขนาดใหญ่และแตก : Stroke เคสยากและซับซ้อน คนไข้กลับมาเดินได้ภายใน 1 เดือน

คนไข้มารพ.ด้วยอาการแขนขาอ่อนแรง ปากเบี้ยว พูดไม่ได้ ซึ่งเป็นอาการของโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลัน และพอได้รับการวินิจฉัยปรากฏว่าเจอหลอดเลือดสมองโป่งพองขนาดใหญ่..รอเวลาแตก และนาทีวิกฤต..ที่ทีมแพทย์จะต้องช่วยกันผ่าตัดรักษาหลอดเลือด

แพทย์ที่เกี่ยวข้อง

นพ. กิตติภพ สมบูรณ์นิธิผล
รังสีวิทยาวินิจฉัย
กุมารเวชศาสตร์
นพ. กีรติ จรูญธรรมวงศ์
ประสาทศัลยศาสตร์
นพ. ชาคร จันทร์สกุล
-
นพ. ชาญ ศุภภิญโญพงศ์
ประสาทวิทยา
นพ. ณษฐพจน์ นำผล
ประสาทศัลยศาสตร์
นพ. ณัฐกานต์ บูรณะกุล
ประสาทวิทยา
นพ. ณัฐพล อุฬารศิลป์
ประสาทวิทยา
นพ. นิยม พิสิฐพิพัฒนา
ประสาทวิทยา
นพ. บุญฤกษ์ แสงเพชรงาม
-
นพ. ปิยะณัฐ วงศ์วรรณ
ประสาทวิทยา