โรคพาร์กินสัน

การรักษาและเทคโนโลยี (โรคพาร์กินสัน)

หน้าแรก  >  โรคและการรักษา  >  โรคพาร์กินสัน  >  การรักและเทคโนโลยี (โรคพาร์กินสัน)

โรคพาร์กินสัน

การรักษา

  • ควรเริ่มรับการรักษาโรคพาร์กินสันเมื่อไหร่ เริ่มรับประทานยาให้เร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ เนื่องจากมีการศึกษาว่าเริ่มรับประทานยาเร็วทำให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
  • ยาที่ใช้ในการรักษา มีอะไรบ้าง ยาเลโวโดปา ,ยากลุ่มออกฤทธิ์เสริมโดปามีน มยาที่ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ ,ยากลุ่มต้านโคลิเวอร์จิก ปัจจุบันยังไม่มียาชนิดใดที่พิสูจน์ได้ว่ามีประสิทธิภาพในการชะลอการดำเนินของโรคอย่างชัดเจน แต่สามารถทำให้อากรของผู้ป่วยดีขึ้น คุณภาพชีวิตดีกว่าคนที่ไม่รักษาอย่างชัดเจน
  • การรักษาด้วยการผ่าตัด
  • การรักษาด้วยการฉีดยาเข้าสู่ชั้นใต้ผิวหนังอย่างต่อเนื่อง

ดังนั้นการซักประวัติและตรวจร่างกายมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง ผู้ป่วยควรได้รับการรักษาที่เหมาะสม ซึ่งจะส่งผลให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

ศูนย์สมองและระบบประสาท รพ.กรุงเทพพัทยา
ปรึกษาด่วนที่ LINE: BPH Brain

ความประทับใจจากผู้ป่วย

Stroke Pathway : การสวนลากลิ่มเลือด Mechanical Thrombectomy โรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา

การรักษาโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันเฉียบพลันด้วยวิธี Mechanical Thrombectomy และการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินด้วยระบบ Stroke Fast Track ศูนย์สมองและระบบประสาท โรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา

หลอดเลือดสมองโป่งพองขนาดใหญ่และแตก : Stroke เคสยากและซับซ้อน คนไข้กลับมาเดินได้ภายใน 1 เดือน

คนไข้มารพ.ด้วยอาการแขนขาอ่อนแรง ปากเบี้ยว พูดไม่ได้ ซึ่งเป็นอาการของโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลัน และพอได้รับการวินิจฉัยปรากฏว่าเจอหลอดเลือดสมองโป่งพองขนาดใหญ่..รอเวลาแตก และนาทีวิกฤต..ที่ทีมแพทย์จะต้องช่วยกันผ่าตัดรักษาหลอดเลือด

แพทย์ที่เกี่ยวข้อง

นพ. กิตติภพ สมบูรณ์นิธิผล
รังสีวิทยาวินิจฉัย
กุมารเวชศาสตร์
นพ. กีรติ จรูญธรรมวงศ์
ประสาทศัลยศาสตร์
นพ. ชาญ ศุภภิญโญพงศ์
ประสาทวิทยา
นพ. ณษฐพจน์ นำผล
ประสาทศัลยศาสตร์
นพ. ณัฐกานต์ บูรณะกุล
ประสาทวิทยา
นพ. ณัฐพล อุฬารศิลป์
ประสาทวิทยา
นพ. นิยม พิสิฐพิพัฒนา
ประสาทวิทยา
นพ. ปิยะณัฐ วงศ์วรรณ
ประสาทวิทยา
นพ. พิมาน สีทอง
ประสาทวิทยา
นพ. ภาคภูมิ บำรุงราชภักดี
ประสาทศัลยศาสตร์

แพ็กเกจและโปรโมชั่น