โรคพาร์กินสัน

การรักษา

  • ควรเริ่มรับการรักษาโรคพาร์กินสันเมื่อไหร่ เริ่มรับประทานยาให้เร็วที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ เนื่องจากมีการศึกษาว่าเริ่มรับประทานยาเร็วทำให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
  • ยาที่ใช้ในการรักษา มีอะไรบ้าง ยาเลโวโดปา ,ยากลุ่มออกฤทธิ์เสริมโดปามีน มยาที่ยับยั้งการทำงานของเอนไซม์ ,ยากลุ่มต้านโคลิเวอร์จิก ปัจจุบันยังไม่มียาชนิดใดที่พิสูจน์ได้ว่ามีประสิทธิภาพในการชะลอการดำเนินของโรคอย่างชัดเจน แต่สามารถทำให้อากรของผู้ป่วยดีขึ้น คุณภาพชีวิตดีกว่าคนที่ไม่รักษาอย่างชัดเจน
  • การรักษาด้วยการผ่าตัด
  • การรักษาด้วยการฉีดยาเข้าสู่ชั้นใต้ผิวหนังอย่างต่อเนื่อง

ดังนั้นการซักประวัติและตรวจร่างกายมีความสำคัญเป็นอย่างยิ่ง ผู้ป่วยควรได้รับการรักษาที่เหมาะสม ซึ่งจะส่งผลให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น

ศูนย์สมองและระบบประสาท รพ.กรุงเทพพัทยา
ปรึกษาด่วนที่ LINE: BPH Brain

ความประทับใจจากผู้ป่วย

Stroke Pathway : การสวนลากลิ่มเลือด Mechanical Thrombectomy โรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา

การรักษาโรคหลอดเลือดสมองตีบหรืออุดตันเฉียบพลันด้วยวิธี Mechanical Thrombectomy และการดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินด้วยระบบ Stroke Fast Track ศูนย์สมองและระบบประสาท โรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา

หลอดเลือดสมองโป่งพองขนาดใหญ่และแตก : Stroke เคสยากและซับซ้อน คนไข้กลับมาเดินได้ภายใน 1 เดือน

คนไข้มารพ.ด้วยอาการแขนขาอ่อนแรง ปากเบี้ยว พูดไม่ได้ ซึ่งเป็นอาการของโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลัน และพอได้รับการวินิจฉัยปรากฏว่าเจอหลอดเลือดสมองโป่งพองขนาดใหญ่..รอเวลาแตก และนาทีวิกฤต..ที่ทีมแพทย์จะต้องช่วยกันผ่าตัดรักษาหลอดเลือด

แพทย์ที่เกี่ยวข้อง

นพ. กิตติภพ สมบูรณ์นิธิผล
รังสีวิทยาวินิจฉัย
กุมารเวชศาสตร์
นพ. กีรติ จรูญธรรมวงศ์
ประสาทศัลยศาสตร์
นพ. ชาคร จันทร์สกุล
-
นพ. ชาญ ศุภภิญโญพงศ์
ประสาทวิทยา
นพ. ณษฐพจน์ นำผล
ประสาทศัลยศาสตร์
นพ. ณัฐกานต์ บูรณะกุล
ประสาทวิทยา
นพ. ณัฐพล อุฬารศิลป์
ประสาทวิทยา
นพ. นิยม พิสิฐพิพัฒนา
ประสาทวิทยา
นพ. บุญฤกษ์ แสงเพชรงาม
-
นพ. ปิยะณัฐ วงศ์วรรณ
ประสาทวิทยา