
เทคโนโลยีและการรักษา มะเร็งท่อไต

- ตรวจร่างกาย เพื่อสำรวจส่วนท้อง
- ตรวจปัสสาวะ เพื่อดูการปนเปื้อนของเลือดในปัสสาวะ จะมีการตรวจความสมบูรณ์ของเกล็ดเลือด เพื่อดูว่ามีโรคโลหิตจางหรือไม่
- ตรวจสารมะเร็งในน้ำปัสสาวะ (เป็นการตรวจในระดับเซลล์) จะเกิดขึ้นโดยการใช้กล้องส่อง หรือจากการใช้ตัวอย่างปัสสาวะ ที่อาจแสดงให้เห็นถึงเซลล์มะเร็ง
- เอกซเรย์หน้าอก
- การอัลตร้าซาวน์ไต (Ultrasound)
- การส่องกล้องตรวจสารมะเร็งโดยใช้กล้องส่องท่อไต (Ureteroscopy)
- การตรวจไตและทางเดินปัสสาวะด้วยการฉีดสี (IVP)
- การทำซีทีสแกนบริเวณช่วงท้อง (CT scan)
- การตรวจด้วย เอ็มอาร์ไอ [MRI]
- การตรวจด้วย PET/CT scan
การตรวจเหล่านี้อาจเผยให้เห็นถึงเนื้องอก หรือแสดงถึงระยะมะเร็งที่ลุกลามมาจากไต
การผ่าตัด เพื่อนำส่วนหนึ่งหรือทั้งหมดของไตออกมา (การผ่าตัดไต) อาจรวมไปถึงการผ่าตัดนำชิ้นส่วนของกระเพาะปัสสาวะและเนื้อเยื่อโดยรอบออก หรือผ่าตัดต่อมน้ำเหลืองออก หากมีเนื้องอกอยู่ในท่อไต อาจจะสามารถผ่าตัดเอาส่วนนั้นออก โดยที่ไม่ต้องไปทำอะไรกับไต
แพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านศัลยศาสตร์ยูโรวิทยา
ศูนย์ศัลยกรรมระบบทางเดินปัสสาวะ โรงพยาบาลกรุงเทพพัทยา
ความประทับใจจากผู้ป่วย
Testimonial : คุณอาจไม่รู้ว่าคุณเป็น”นิ่ว” (การสลายนิ่วด้วยคลื่นกระแทก)
คนไข้มีอาการตัวร้อน คลื่นไส้ อาเจียน หาหมอที่อื่นแล้วก็ไม่หาย จนต้องเปลี่ยนมารักษาที่รพ.กรุงเทพพัทยา และแพทย์เฉพาะทางของเรา..ตรวจพบว่าอาการดังกล่าวเป็นอาการของ “นิ่ว”
Testimonial : Prostate Cancer (SubThai)
Mr.Hans ใช้ชีวิตอยู่เมืองไทยมานาน และตรวจสุขภาพประจำปีที่รพ.กรุงเทพพัทยาเป็นประจำ เมื่อพบว่าตนเป็น “มะเร็งต่อมลูกหมากในระยะเริ่มต้น”
แพทย์ที่เกี่ยวข้อง
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10